บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2016

นานาสิทธานตะ-เริ่มต้น กับ อหรคุณ[ตอนที่ 5]-[สุริยสิทธานตะ]

นานาสิทธานตะ - เริ่มต้น กับ อหรคุณ [ ตอนที่ 5 ]-[ สุริยสิทธานตะ ] สำหรับวิธีการหาอหรคุณ ที่กำหนดจุดเริ่มต้นนับตั้งแต่ตอนเริ่มต้นกลียุคศักราช ( kali ahargana ) นั้น มีขั้นตอนแบบเดียวกันกับการหาอหรคุณ ที่กำหนดนับเริ่มต้นตั้งแต่สร้างโลก แต่ผลลัพธ์ที่ได้จะมีขนาดย่อมกว่า เพราะเวลาที่เริ่มต้นนับ อยู่ในช่วง 4960 ปี ของยุคเหล็ก ที่เราอยู่กัน ณ ปัจจุบันนี้เอง วิธีการหา อหรคุณ กลียุค โดยสรุป ( เรียบเรียงและดัดแปลงจาก https://medium.com/thoughts-on-jyotish/the-kali-epoch-and-ahargana-part-1-9b514d736154#.6nxuajtx , บทความวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการหา อหรคุณ ของอินเดียโบราณ อาทิเช่น LUNI-SOLAR CALENDAR, KALI AHARGANA AND JULIAN DAY S เป็นต้น ) เป็นดังนี้ 1. หา เดือนสุริยคติ Solar Months จากสูตร ms = 12x(3179 + y) + m เมื่อ ms = เดือนสุริยคติ Solar Months y = ปีมหาศักราชที่คำนวณ m = จำนวนเดือนในปีมหาศักราชที่เราจะคำนวณ โดยนับถัดไปจากเดือนที่ 1 ( ไม่นับเดือนที่ 1) 2. หา วันสุริยคติ จากสูตร ds = 30ms + d ds= จำนวนว

นานาสิทธานตะ-เริ่มต้น กับ อหรคุณ[ตอนที่ 4]-[สุริยสิทธานตะ]

รูปภาพ
นานาสิทธานตะ - เริ่มต้น กับ อหรคุณ [ ตอนที่ 4 ]-[ สุริยสิทธานตะ ] จากตารางที่เห็นต่อไปนี้ เป็นบรรดาค่าคงที่ต่างๆ ที่ใช้กันในสูตรการหาอหรคุณ ทั้งแบบกำหนดนับเวลาตั้งแต่สร้างโลก และแบบที่กำหนดเริ่มต้นนับจาก ตอนเริ่มต้นกลียุคศักราช ที่มา : เรียบเรียงและดัดแปลงจาก https://medium.com https://medium.com/thoughts-on-jyotish/the-kali-epoch-and-ahargana-part-1-9b514d736154#.6nxuajtxf Indian astronomy: An introduction S. Balachandra Rao รวมถึงตำรา Tantrasangraha ของ Nilakantha Sommayaji ด้วย