บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2016

คัมภีร์สารัมภ์ อัฑฒาธิกรรม และ Excel

  คัมภีร์สารัมภ์ อัฑฒ าธิกรรม และ Excel หลังจากที่ มึนงง กับ เรื่องของ คตมาสเกณฑ์ ในการตามหาค่าอุณทิน มาร่วมแรมปี มาวันนี้ ส่งท้ายปีเก่า เรามาว่ากันต่อ แบบ เบาๆ ในขั้นตอนต่อไป หลังจากหาค่าเริ่มต้นที่เรียกว่า อุณทิน กันได้แล้ว โดยขั้นตอนถัดไป หลังจากได้ อุณทินกันมาแล้ว ให้เราลบค่าอุณทิน ออกไป ก่อน 1 แล้วนำค่าที่เราลบหนึ่ง ( เคยเขียนเป็นสมการไว้ดูเล่นแล้ว ไม่ขออธิบายซ้ำ ) ไปใช้ ในการหาค่าที่เรียกกันว่า พล ต่อไป ซึ่ง ขั้นตอนที่ว่า ในตำราท่านเขียนไว้ ดังนี้ครับ “( ๒ ) ตั้งอุณทินลง เอา ๑ ลบ แล้วเอา ๕๙๑๓๖๑๗๑๖ คูณผลลัพธ์นั้นให้นับถอยหลังขึ้นมาหาตัวต้น ถึงผลลัพธ์ตัวที่ ๗ แล้วให้กาไว้ แล้วให้ลบเสียทั้ง ๗ ตัว นั้นเถิด แต่ให้ลบถอยหลังขึ้นมาจนถึงตัวที่ ๖ ก่อน แล้วดูตัวที่ ๗ ที่กาไว้และจะลบต่อไปนั้น ถ้าเป็น ๐ , ๑ , ๒ , ๓ , ๔ ไม่ต้องเอา ๑ บวก ถ้าเป็น ๕ , ๖ , ๗ , ๘ , ๙ ให้เอา ๑ บวก ที่เลขตัวสุดท้ายของจำนวนที่ไม่ลบนั้น เรียกว่า อัฑฒาธิกรรม เป็นพลพระอาทิตย์ตราไว้ “ จากย่อหน้าที่กล่าวมา เราจะพบกับ คำที่เคยอธิบายให้ฟังแล้ว แต่ถูกตีความใหม่ คราวนี้ กาๆ ลบๆ แบบใช้คนล้วนๆกันเลยทีเดียว คือ คำ

นานาสิทธานตะ-เริ่มต้น กับ อหรคุณ[ตอนที่ 5]-[สุริยสิทธานตะ]

นานาสิทธานตะ - เริ่มต้น กับ อหรคุณ [ ตอนที่ 5 ]-[ สุริยสิทธานตะ ] สำหรับวิธีการหาอหรคุณ ที่กำหนดจุดเริ่มต้นนับตั้งแต่ตอนเริ่มต้นกลียุคศักราช ( kali ahargana ) นั้น มีขั้นตอนแบบเดียวกันกับการหาอหรคุณ ที่กำหนดนับเริ่มต้นตั้งแต่สร้างโลก แต่ผลลัพธ์ที่ได้จะมีขนาดย่อมกว่า เพราะเวลาที่เริ่มต้นนับ อยู่ในช่วง 4960 ปี ของยุคเหล็ก ที่เราอยู่กัน ณ ปัจจุบันนี้เอง วิธีการหา อหรคุณ กลียุค โดยสรุป ( เรียบเรียงและดัดแปลงจาก https://medium.com/thoughts-on-jyotish/the-kali-epoch-and-ahargana-part-1-9b514d736154#.6nxuajtx , บทความวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการหา อหรคุณ ของอินเดียโบราณ อาทิเช่น LUNI-SOLAR CALENDAR, KALI AHARGANA AND JULIAN DAY S เป็นต้น ) เป็นดังนี้ 1. หา เดือนสุริยคติ Solar Months จากสูตร ms = 12x(3179 + y) + m เมื่อ ms = เดือนสุริยคติ Solar Months y = ปีมหาศักราชที่คำนวณ m = จำนวนเดือนในปีมหาศักราชที่เราจะคำนวณ โดยนับถัดไปจากเดือนที่ 1 ( ไม่นับเดือนที่ 1) 2. หา วันสุริยคติ จากสูตร ds = 30ms + d ds= จำนวนว

นานาสิทธานตะ-เริ่มต้น กับ อหรคุณ[ตอนที่ 4]-[สุริยสิทธานตะ]

รูปภาพ
นานาสิทธานตะ - เริ่มต้น กับ อหรคุณ [ ตอนที่ 4 ]-[ สุริยสิทธานตะ ] จากตารางที่เห็นต่อไปนี้ เป็นบรรดาค่าคงที่ต่างๆ ที่ใช้กันในสูตรการหาอหรคุณ ทั้งแบบกำหนดนับเวลาตั้งแต่สร้างโลก และแบบที่กำหนดเริ่มต้นนับจาก ตอนเริ่มต้นกลียุคศักราช ที่มา : เรียบเรียงและดัดแปลงจาก https://medium.com https://medium.com/thoughts-on-jyotish/the-kali-epoch-and-ahargana-part-1-9b514d736154#.6nxuajtxf Indian astronomy: An introduction S. Balachandra Rao รวมถึงตำรา Tantrasangraha ของ Nilakantha Sommayaji ด้วย

นานาสิทธานตะ-เริ่มต้น กับ อหรคุณ[ตอนที่ 3]-[สุริยสิทธานตะ]

นานาสิทธานตะ - เริ่มต้น กับ อหรคุณ [ ตอนที่  3 ]-[ สุริยสิทธานตะ ] เมื่อได้จำนวนปีทั้งหมดที่ต้องการคำนวณมาแล้ว ให้นำจำนวนปีที่ได้มากระจายให้เป็นเดือนสุริยคติ ด้วยการคูณกับ 12 ผลลัพธ์ที่ได้ เป็นจำนวนเดือนสุริยคติ จากนั้น นำเดือนสุริยคติที่ได้มา ไปรวมกับจำนวนเดือนที่ล่วงมาแล้ว ก่อนหน้าเดือนที่จะคำนวณ สำหรับการนับเดือนที่ล่วงมาแล้วไม่ต้องนับเดือนที่ 1 ของปีนั้นหรือก่อนหน้า ( แล้วแต่ วันเวลาที่ต้องการคำนวณว่า ห่างไกลจากเดือน มีนาคม ซึ่งกำหนดให้เป็นเดือนขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินมหาศักราช มากน้อยแค่ไหน ) จะได้จำนวนเดือนสุริยคติล่วงมาแล้วทั้งหมด ต่อจากนั้น หาเดือนอธิกมาสล่วงมาแล้ว ด้วยสูตรดังนี้ เดือนสุริยคติล่วงมาแล้วทั้งหมด x ( เดือนอธิกมาสมหายุค / เดือนสุริยคติมหายุค ) ผลที่ได้ คือ จำนวนเดือนอธิกมาสล่วงมาแล้วทั้งหมด พักเอาไว้ก่อน ต่อไป ให้หาเดือนจันทรคติ โดยนำเอา เดือนอธิกมาสล่วงมาแล้วทั้งหมด ( ที่พักไว้ก่อนหน้า ) มา บวก กับ เดือนสุริยคติล่วงมาแล้วทั้งหมด ผลที่ได้จะเป็นเดือนจันทรคติ ต่อจากนั้น นำผลที่คำนวณได้คูณด้วย 30 ก่อนจะนำไปรวมกับจำนวนวั

นานาสิทธานตะ-เริ่มต้น กับ อหรคุณ[ตอนที่ 2]-[สุริยสิทธานตะ]

นานาสิทธานตะ - เริ่มต้น กับ อหรคุณ [ ตอนที่  2 ]-[ สุริยสิทธานตะ ] การหาอหรคุณ ทำได้ 2 วิธี คือ 1. หา อหรคุณ โดยมีกำหนดนับเวลาตั้งแต่การสร้างโลกมาจนถึงช่วงเวลาที่ต้องการคำนวณ ค่าที่ได้ จะมีจำนวนมาก (12 หลัก ) แต่ยังสามารถทำการคำนวณได้อยู่ ตามขั้นตอนที่ปรากฎในคัมภีร์ 2. หา อหรคุณ โดยปรับจุดกำหนดนับเวลา ให้มาเริ่มต้นที่ ช่วงเวลา ณ จุดเริ่มต้นของกลียุคศักราช มีชื่อเรียกว่า อหรคุณกลียุค (kali aharagana) วิธีนี้ มีหลักการและใช้ขั้นตอนที่แน่นอน ร่วมกับค่าคงที่ชุดหนึ่ง ตัวเลขที่ได้ มีขนาดลดลงมาคือ 6 หลัก ทำให้ง่ายและสะดวกในการคำนวณ เพื่อการค้นคว้าวิจัย สำหรับ สูตรและวิธีการต่างๆ มีให้พบเห็นกันอยู่ตามบทความงานวิจัยที่มีผู้เผยแพร่และมีให้ดาวน์โหลดฟรีเพื่อการศึกษาตามเวบไซต์ต่างๆ สำหรับการค้นหา ใช้คำค้นว่า kali ahargana ได้เลย สรุปขั้นตอน การหาอหรคุณ แบบที่ 1 ณ กำหนดเวลานับแต่การสร้างยุคและสร้างโลก เรียบเรียงจากหนังสือ  Suriya Siddhanta ของ E.Burgess จุดเริ่มต้น                                                                                         ปีสุริยคติ

นานาสิทธานตะ-เริ่มต้น กับ อหรคุณ[ตอนที่ 1]-[สุริยสิทธานตะ]

นานาสิทธานตะ - เริ่มต้น กับ อหรคุณ [ ตอนที่ 1]-[ สุริยสิทธานตะ ] ก่อนเริ่มทำความรู้จักกับ ค่า อหรคุณ ลองย้อนกลับมาดูบางสิ่ง จากมรดกตกทอด ที่เหลืออยู่ภายในประเทศกันก่อน ในบ้านเรา คัมภีร์หลักทางโหราศาสตร์ที่มีใช้กันคือ คัมภีร์สุริยยาตร์ สำหรับภาคคำนวณ จุดตั้งต้นของค่าหรคุณ ที่ใช้อยู่ในคัมภีร์สุริยยาตร์ เป็นวิธีกำหนดการนับวัน จาก ปี ที่ 0 เวลา 0 น . ถึง วันที่ต้องการ ว่า เป็น จำนวนกี่วัน แล้ว !!! โดยปีที่ใช้อ้างอิงนั้น คือ ปีของจุลศักราช เป็นปีที่ใช้เป็นหลัก ของการคำนวณ ( อ้างอิง จาก หนังสือ คัมภีร์สุริยยาตร์ตามแนวทางของ อ . พลตรี บุนนาค ทองเนียม ) แต่กับจุดตั้งต้นของ ค่าอหรคุณ ที่ใช้เพื่อการนับวัน แบบเดียวกับ คัมภีร์สุริยยาตร์ นั้น ต่างออกไป เนื่องจากจุดเริ่มต้นถูกวางไว้ไกลมาก โดยนับกันมาตั้งแต่ตอนสร้างโลกเลยทีเดียว ที่สำคัญคือ ค่าที่จำเป็นต้องใช้ในการคำนวณมีอยู่มากมายหลายชุด ที่เป็นเช่นนี้ เพราะเกิดจากการที่มีหลายๆสำนัก รวมถึงบรรดานักปราชญ์หลายๆท่าน ได้คิดคำนวณนับค่าของวัน เวลาเอาไว้ เป็นชุดๆ ( ซึ่งค่าคงที่ต่างๆ ดูจะใกล้เคียงกันพอสมควร ) เพื่อที่จะนำค่าต่างๆเหล